การจำแนกชนิดของสีย้อม กระบวนการทำให้วัสดุสิ่งทอย้อมสี หลักการย้อมสีและศึกษาปัญหาที่มีผลต่อการย้อมสีบนวัสดุสิ่งทอดังต่อไปนี้ สีไดเร็กซ์ รีแอคทีฟ วัต ซัลเฟอร์ ดิสเพิร์ส แอซิด เบสิก ตามทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมเชิงการค้า กระบวนการย้อมสีสิ่งทอบนเส้นใยผสมพอลิเอสเตอร์และเซลลูโลส ด้วยกระบวนการย้อมสีแบบต่อเนื่อง และแบบดูดซึม รายละเอียดของสารช่วยย้อมสี หลักการทำงานของเครื่องย้อมสีแบบดูดซึม และแบบต่อเนื่อง นวัตกรรมที่เกี่ยวกับกระบวนการย้อมสีสิ่งทอ การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในโรงย้อม
Classification of dyestuffs, textile dyeing processes, principles of dyeing, study the effect of the different dye types (direct, reactive, vat, sulphur, disperse, acid, basic dyes) according to theory and commercial application, textile dyeing processing on polyester and cellulosic fibers blended fabrics with exhaustion and continuous processes, textile auxiliaries, the principles of dyeing machines for exhaustion and continuous processes, innovations in dyeing of textiles, improvement and increasing productivity in dyehouse
- อาจารย์: ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ
คำอธิบายรายวิชา
ค้นคว้าและปฏิบัติการเป็นกลุ่ม โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับโครงการทาง เทคโนโลยีงานเคมีสิ่งทอที่ได้รับอนุมัติโครงการ จากวิชาการเตรียมโครงงาน วิศวกรรมเคมีสิ่งทอและเส้นใย เพื่อนำเอาความรู้และทักษะที่ได้รับจากวิชาชีพมา ประยุกต์ใช้งาน และแก้ปัญหา โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำและดูแล
Research by group of students on a special topic that was proved from the subject of textile chemistry and fiber engineering pre-project, students will solve the task of the special topic under supervision.
- อาจารย์: ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ
หลักการออกแบบและกรรมวิธีการผลิตของระบบ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมด้าน
เคมีสิ่งทอ ตั้งแต่การเตรียม การย้อม การพิมพ์ และการตกแต่งสิ่งทอ ศึกษาสมบัติ
ทางเคมีของเส้นใย ผ้า และกระบวนการ การวิเคราะห์ประเภทและชนิดของเส้นใย สี
สารช่วยย้อม และสารตกแต่ง ประเมินคุณภาพของผ้าและสารตกแต่ง
Design and production process in textile chemistry industry, textile preparation, dyeing, printing, and finishing, chemical properties of fibers, analysis of fibers, dyestuff, auxiliaries, finishing agents, and evaluation of the quality of finished fabrics.
- อาจารย์: ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ
เนื่องจากเปลี่ยนแปลงผู้สอนวิชานี้ เป็น ดร.ธีรกัญญา ศรีโพธิ์ จึงไม่มีการดำเนินการในระบบ RMUTT Dlearn ภาคการศึกษา 1-2563
- อาจารย์: ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ
คำอธิบายรายวิชา
ทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีการย้อมสีสิ่งทอบนเส้นใยผสมโพลิเอสเตอร์และฝ้าย และเส้นใยผสมอื่นๆ ด้วย กระบวนการย้อมสีแบบต่อเนื่อง และแบบดูดซึม รายละเอียดของสีย้อม และสารช่วยย้อมสี หลักการทำงานของ เครื่องย้อมสีแบบต่อเนื่อง และแบบดูดซึม เทคโนโลยีที่พัฒนาใหม่ๆ เกี่ยวกับกระบวนการย้อมสีสิ่งทอ และวัสดุ อื่นๆ พลาสติก หนังเทียม กระดาษ ฯลฯ การคำนวณต้นทุนการผลิต การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในโรง ย้อม โดยมีภาคปฏิบัติเพื่อเพิ่มทักษะในการย้อมสีบนสิ่งทอเส้นใยผสม
Theory of textile dyeing on cotton and blended fabrics with exhaust and continuous processes, details of dyestuff and auxiliaries, the principles of dyeing machines for both exhaust and continuous processes, updated technologies for dyeing of textiles, plastics, vinyl, and papers, to calculate dyeing expense and some modifications to increase the efficiency of dyeing mills
- อาจารย์: ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ
คำอธิบายรายวิชา
กระบวนการผลิต วิธีทดสอบสารช่วย (ถ้ามี) และการนำไปใช้งานของสารต่างๆ ดังนี้ Leveling Agent Migration Inhibitor Dispersing Agent Anti-foaming Agent Sequestering Agent Dyestuff Dissolving Agent โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) โซเดียมซัลเฟต สารไฮโปคลอไรท์ สารเปอร์ออกไซด์ สารเปอร์อะซิติกแอซิด ไฮโดรซัลไฟท์ ซัลฟอกซีเลต โซเดียมซิลิเกต โซเดียมคาร์บอเนต (โซดาแอช) โซเดียมไฮดรอกไซด์ ผงฟู โปตัสเซียมไดโครเมต ยูเรีย กรดซัลฟุริก กรดไฮโดรคลอริก สารส้ม และอลูมิเนียมซัลเฟต กรดอะซิติก กรดมด อะซิโตน โซเดียมไดไฮโดรเจนออโธฟอสเฟต ไดโซเดียมไฮโดรเจนออโธฟอสเฟต สารลดแรงตึงผิว และสารประกอบซิลิโคน สบู่ ฯลฯ ในกระบวนการฟอกย้อมพิมพ์ตกแต่งสิ่งทอ และ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องตามลักษณะสาขางานเฉพาะ
Production process, chemical testing, and the application of finishing agents and auxiliaries such as Levelling agents, Migration inhibitor, Dispersing agent, Anti-foaming agent, Sequestering agent, Dyestuff dissolving agents, sodium chloride, sodium sulphate, hypochloride, peroxides, peracitic acid, hydrosulphide, sulphoxylate, sodium silicate, sodium carbonate, sodium hydroxide, sodium bicarbonate, potassium dichromate, urea, sulphuric acid, hydrochloric acid, alum, aluminium sulphate, acetic acid, formic acid, acetone, surfactant, silicone derivatives, detergents.
- อาจารย์: ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัติ